Commercial production of spotted babylon babyl

13 43 0
Commercial production of spotted babylon babyl

Đang tải... (xem toàn văn)

Tài liệu hạn chế xem trước, để xem đầy đủ mời bạn chọn Tải xuống

Thông tin tài liệu

การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 O20 การผลิตลูกหอยหวาน (Babylonia areolata Link, 1807) เชิงพาณิชย บังอร ศรีมุกดา สุรชาต ฉวีภักดิ์ และ วริษฐา หนูปน ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงจันทบุรี ต บางกะจะ อ เมือง จ จันทบุรี ๒๒๐๐๐ บทคัดยอ การทดลองผลิตพันธุหอยหวานเชิงพาณิชยที่ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงจันทบุรี ระหวางเดือน มกราคม – พฤษภาคม 2547 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาชนิดของอาหารที่เหมาะสมในการอนุบาล อัตราการรอดตาย การ เจริญเติบโตและพัฒนาเทคนิคการจัดการเพื่อใหลูกหอยมีอัตรารอดสูงสุดจนถึงขนาด ซม ตลอดจนศึกษาตนทุนในการ ผลิตลูกหอยหวานเชิงพาณิชยเพื่อแนะนําและสงเสริมใหเกษตรกรประกอบธุรกิจการเพาะเลี้ยงหอยหวานตอไป ลําเลียงฝกไขหอยหวานประมาณ 2,000 ฝก จากสถานีเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงจังหวัดตราด นํามาฆาเชื้อดวย โพวิ โดน ไอโอดีนเขมขน 25 พีพีเอ็ม 10 นาที กอนนํามาแบงใสในตะกราพลาสติก ใบ ใหลอยอยูในถังฟกไขขนาด 200 ลิตร ใบ เมื่อลูกหอยฟกเปนตัวจึงยายมาใสถังขนาด 200 ลิตร จํานวน ถัง ที่มีปริมาตรน้ําถังละ 180 ลิตร อนุบาลลูกหอย หวานระยะ veliger larvae จํานวน 992,150 ตัว ดวยแพลงกตอนชนิด Tetraselmis sp หรือ Chaetoceros sp หรือ สาหรายผง (Spirulina) เมื่อลูกหอยเริ่มลงพื้น อายุ 7-15 วัน ใหสาหรายผงและอารทีเมียตัวเต็มวัยแชแข็งเปนอาหาร และใหอารทีเมียตัว เต็มวัยแชแข็งเปนอาหารในระยะ early juvenile (อายุ 16-30 วันหรือจนมีขนาด 0.5 ซม.) หลังจากนั้นใหกิน อารทีเมียตัว เต็มวัยแชแข็งและปลาสดจนลูกหอยอายุ 40 วัน และปลาสดอยางเดียวเมื่อหอยมีอายุ 41-90 วัน (ขนาด 0.5 ซม ขึ้นไป) น้ําทะเลที่นํามาใชในการฟกไขและอนุบาลลูกหอยหวานผานการฆาเชื้อดวยแคลเซียมไฮโปคลอไรด 20 พีพีเอ็ม กอนและควบคุมคุณภาพน้ําระหวางการอนุบาลโดยการยายถังใหมทุกวัน ในระยะveliger larvae มีการเปลี่ยนถายน้ําวันละ ครั้ง ๆ ละมากกวา 100% ในตอนเชาและบายลูกหอยระยะ juvenile stage ที่อนุบาลในถังขนาด 300 ลิตร ซึ่งมีผาพลาสติก ปดปากถังเพื่อปองกันการหลบหนีของลูกหอย ผลการทดลองพบวา อัตราการรอดตายสูงสุดตั้งแตระยะ veliger larvae จนลูกหอยมีอายุ 60 วัน มีคาเฉลี่ย survival rate เทากับ เฉลี่ย 9.82% (97,676 ตัว) หลังจากลูกหอยมีอายุ 90 วัน พบวาไดลูกหอยหวานขนาด ซม ขึ้นไป จํานวนทั้งหมด 94,771 ตัว หรือ 97.02% ของปริมาณลูกหอยที่มีอายุ 60 วัน มีตนทุนการผลิตรวมเฉลี่ยตัวละ 56.32 สตางค คําสําคัญ : หอยหวาน การอนุบาล การผลิตเชิงพาณิชย 237 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 O20 COMMERCIAL PRODUCTION OF SPOTTED BABYLON (Babylonia areolata Link, 1807) SEEDS Bung-orn Srimukda Surachart Chaweepack and Varittha Nupin Chanthaburi Coastal Fisheries Research and Development Center Ban Thachalab, Tumbol Bangkhacha, Muang Distric, Chanthaburi Province 22000, Thailand Abstract Mass production of spotted babylon seed was carried out at Chanthaburi Coastal Fisheries Research and Development Center during January to May 2004 The objective of this studied aim to find out suitable foods, survival rate, growth and developmental technology on nursing in order to obtain the highest survival rate from veliger larvae to cm in shell length Cost of seed production were calculated in order to advise and extend the farmers for nursing and culture spotted babylon at this scale Egg capsules were transported from Trat Coastal Aquaculture Station in plastic bags Amout of 2,000 egg capsules were treated with 25 ppm povidone iodine for 10 minutes and put them in the bastkets and plastic tanks After hatching the veliger larvae were stocked in tanks (200 liters in capacity) and were tranfered to the new tanks The total number 992,150 veliger larvae were fed with ether Tetraselmis sp or Chaetoceros sp or dried Spirulina Dried Spirulina and frozen adult Artemia were suitable foods for the settled juveniles stage (7-15 days old), Frozen adult Artemia was use to feed early juvenile stage (16-30 days old or until a shell length of 0.5 cm) Frozen adult Artemia and trash fish were fed 31-40 days old juveniles and only trash fish was suitable food for 41-90 days old juvenile (>0.5 cm in shell length) Seawater used in the rearing system was treated with calciumhypochloride at the concentration of 20 ppm Changing the new tanks of veliger larvae everyday to controled the quality of seawater during nursing period and more than 100% of seawater was changed twice per day for juvenile stage, that reared in 300 liters plastic tanks that covered with plastic sheet to prevent the escape of juveniles The resulted showed that the highest survival rate of the seed from veliger larvae stage (1 day old) to 60 days old was 11.2% with the average was 9.82% After the larvae grew up to 90 days, the total number of 94,771 juveniles (≥ cm in shell length) were investigated at 97.02% of 97,676 juveniles The total yield (fix and variable cost) of 94,771 larvae was 56.32 stangs Key words : Spotted babylon, Nursing, Commercial Production 238 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 O20 คํานํา หอยหวานหรือหอยตุกแกหรือ Spotted Babylon (Babylonia areolata Link, 1807) ปจจุบันเปนที่ยอมรับและนิยม บริโภคกันมากขึ้นทั้งในและตางประเทศ ทรัพยากรหอยหวานทุกขนาดถูกจับขึ้นมาใชประโยชนทําใหจํานวนหอยหวาน ในธรรม ชาติลดลงอยางรวดเร็วจนนาเปนหวงวาทรัพยากรหอยหวานอาจจะหมดลงในอนาคตอันใกลนี้ อีกทั้งหอยหวานที่ จับไดยังมีขนาดเล็กลงอีกดวยแตปริมาณความตองการของตลาดหอยหวานทั้งภายในประเทศและตาง ประเทศ เชน จีน ญี่ปุน ไตหวันและฮองกงกลับเพิ่มมากขึ้น จึงเปนสาเหตุที่ทําใหราคาจําหนายหอยหวานสูงขึ้นไปดวย กรมประมงโดยศูนยพัฒนาประมงทะเลอาวไทยฝงตะวันออกไดเริ่มทดลองผลิตลูกพันธุหอยหวานตั้งแต ป 2530 (รัตนาและประวิม, 2531) เพื่อเพาะพันธุหอยหวานปลอยแหลงน้ําแตยังมีจํานวนนอยเนื่องจากอัตรารอดตายต่ํามาก ปจจุบันไดมีการพัฒนาการเพาะเลี้ยงหอยหวานกันมากขึ้นแตอัตราการรอดตายของลูกหอยหวานขนาด 1-1.5 ซม ยัง คอนขางต่ํา (1.5-2.5%) ทําใหตนทุนการผลิตหอยหวานขนาดตลาดของเกษตรกร 40.3 % เปนคาพันธุหอยหวาน (นิลนาจ และ ศิรุษา, 2545) อีกทั้งราคาลูกพันธุหอยหวานยังอยูในเกณฑสูงเมื่อเทียบกับสัตวน้ําชนิดอื่น ทําใหธุรกิจการเพาะเลี้ยง หอยหวานไมแพรหลายหรือเจริญเติบโตเทาที่ควร ถึงแมวาราคาหอยหวานขนาดบริโภคจะอยูในเกณฑคอนขางสูง (250350 บาท/กก.) เนื่องจากระยะเวลาในการเลี้ยงอยูระหวาง 6-12 เดือน (แลวแตขนาด) หอยหวานเปนสัตวกินเนื้อและมี เพศ ชอบฝงตัวอยูในทราย ลูกหอยระยะแรก (veliger larvae) มีขนาดประมาณ 450-510 ไมครอนและมีกลุมขน (velum) ขนาดใหญจํานวน อัน ใชในการโบกพัดอาหารเขาสูชองปากและการเคลื่อนที่ จึงทําใหมีรูปรางคลายผีเสื้อ ลูกหอยระยะนี้มีการดํารงชีพแบบแพลงกตอน (planktonic larvae) และมีลักษณะการเคลื่อนที่ เขาหาแสง (positive phototactic) ดังนั้นลูกหอยสวนใหญจึงลองลอยอยูบริเวณผิวน้ําหรือกลางน้ําในบออนุบาล ดวยเหตุนี้ อาหารที่ดีและเหมาะสมของลูกหอยหวานระยะนี้คือแพลงกตอนพืชชนิดเซลลเดียว ไดแก Isochrysis galbana, Chaetoceros calcitrans, Tetraselmis sp และ Chlorella sp (นิลนาจ และ ศิรุษา, 2545) เพราะลูกหอยสามารถโบกพัดเขาสู ชองปากไดงาย หลังจากลูกหอยเริ่มลงพื้นจนถึงระยะตัวเต็มวัยที่มีการดํารงชีพบนพื้นทะเลและกินซากพืชและสัตวที่ตายแลว เปนอาหารทั้งในสภาพสดและไมสด นอกจากนี้ยังมีการกินอาหารแบบกลุมกอน หอยหวานมีตอมน้ําลายสําหรับสราง น้ํายอยและสงออกมาทางงวงยาวที่เรียกวา Proboscis เพื่อยอยอาหารแลวจึงดูดเขาไปภายในรางกาย งวงนี้สามารถยืดยาว ไดประมาณ 8-10 ซม ตามปกติหลังจากกินอาหารอิ่มแลวจะเดินออกจากเหยื่อและฝงตัวอยูใตชั้นทรายทันที (นิลนาจ และ ศิรุษา, 2545) มีผูทําการศึกษาเกี่ยวกับการเลี้ยงหอยหวานหลายราย เชน ธานินทร (2539) อนุบาลลูกหอยหวานดวย Isochrysis sp ในระยะ veliger พบวาลูกหอยเริ่มลงพื้นเมื่ออายุ 10 วัน และลงพื้นหมดเมื่ออายุ 22-24 วัน โดยมีอัตรารอดของลูกหอย ลงพื้นเทากับ 1.4 % หลังจากนั้นนํามาอนุบาลตอโดยใหเนื้อปลาขางเหลืองสดเปนอาหาร พบวามีอัตรารอดเมื่ออายุ เดือน เทากับ 24.57 % หรือจากระยะ veliger ถึงอายุ เดือน มีอัตรารอดเทากับ 0.34 % ตอมา Tanate and Nhongmeesub (1996) ทําการอนุบาลลูกหอยหวานระยะ veliger lavae ดวยความหนาแนน 500 ตัว/ลิตร ในถังขนาด 300 ลิตร ใหแพลงกตอนชนิด Isochrysis sp และ Chaetoceros sp เปนอาหารในสัดสวน 1:1 ที่ความหนาแนน 1-3 x 103 เซลลตอซีซี พบวาลูกหอยหวาน มีอัตราการลงพื้นเทากับ 3.7-23.9 % เฉลี่ย 13.8 % หลังจากนั้นนําลูกหอยระยะลงพื้นมาอนุบาลในกระชังผาตาถี่พื้นปูดวย ทราย โดยปลอยลูกหอยหนาแนน ตัว/ตร.ซม ใหเตาหูแข็งกินเปนอาหารจนลูกหอยมีขนาด มม จึงลดความหนาแนน ลงเหลือ ตัว/ตร.ซม และใหเนื้อปลาสดกินเปนอาหาร พบวาลูกหอยมีอัตรารอดเฉลี่ย 6.1 % เมื่ออายุ เดือนหลังลงพื้น หรือมีอัตรารอดเฉลี่ยตั้งแตระยะ veliger ถึงอายุ > เดือน เทากับ 0.84 % สวน นิพนธ และ จรัญ (2543) ทดลองอนุบาลลูก หอยหวานระยะ veliger lavae ดวยแพลงกตอนพืชชนิด Chaetoceros sp จนถึงระยะลงพื้นมีอัตรารอดเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 239 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 O20 4.62±2.55 % เมื่อนํามาอนุบาลตอจนถึงขนาด ซม โดยใหกินเนื้อปลาสดเปนอาหาร พบวามีอัตรารอดเฉลี่ยสูงสุด 43.7±1.1 % หรือมีอัตรารอดสูงสุดเฉลี่ยจากระยะ veliger ถึงขนาด ซม เทากับ 2.02 % จะเห็นไดวาหากมีการพัฒนาเทคนิคการอนุบาลโดยเลือกชนิดอาหารที่เหมาะสมซึ่งลูกหอยหวานชอบกินและมี อัตราการเจริญเติบโตดี ตลอดจนมีการปองกันและควบคุมโรคที่อาจเกิดขึ้นในระหวางการอนุบาล อาจชวยใหลูกหอย หวานมีอัตรารอดสูงขึ้นจนสามารถลดตนทุนการผลิตในสวนของลูกพันธุลงได เพื่อใหอยูในระดับที่เกษตรกรพึงพอใจและ ยอมรับไดซึ่งจะทําใหธุรกิจการเลี้ยงหอยหวานแพรหลายมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถผลิตลูกหอยหวานไดในปริมาณ มากเพื่อปลอยลงสูแหลงน้ําธรรมชาติที่เหมาะสม เปนการเพิ่มปริมาณและอนุรักษทรัพยากรหอยหวานใหคงอยูตลอดไป วิธีดําเนินการ การลําเลียงฝกไขหอยหวานและการฟกไข นําไขหอยหวานจํานวน 2,000 ฝก ใสมาในถุงพลาสติกอัดออกซิเจนขนาด 16 x26 นิ้ว จํานวน ถุง มายังศูนยวิจัย และพัฒนาประมงชายฝงจันทบุรี หลังจากนั้นนํามาฆาเชื้อดวยโพวิโดนไอโอดีน 25 พีพีเอ็ม 10 นาที กอนนํามาใสตะกรา พลาสติกจํานวน ใบ แลวนําไปลอยในถังพลาสติกขนาด 200 ลิตร ที่ใสน้ํา 180 ลิตรถังละ ตะกรา (รูปที่ 1) น้ําที่ใชใน ระบบการฟกไขและอนุบาลมีความเค็ม 30-32 พีพีที และผานการฆาเชื้อดวยแคลเซี่ยมไฮโปรคลอไรด 20 พีพีเอ็มแลว กอน นํามาใชกรองผานถุงกรองขนาด 60 ไมครอนอีกครั้ง เปลี่ยนถายน้ํา 100% วันเวนวัน จนลูกหอยเริ่มฟกเปนตัวจึงแยกใสถัง ละ ตะกรา รูปที่ ถังฟกไขหอยหวานขนาด 200 ลิตร ใสตะกราฝกไขหอยหวานได ตะกรา การอนุบาลลูกหอยหวาน ใชถังกรวยกนแบนขนาด 200 ลิตร ใสลูกหอยที่ฟกเปนตัวแลว หลังจากนั้นสุมนับลูกหอยในวันรุงขึ้นและแยก ลูกหอยที่จมอยูกนถัง (ไมแข็งแรง) ออกไปใสถังใหมเพื่อคํานวณปริมาณลูกหอยจากปริมาณน้ําทั้งหมด 180 ลิตร โดยสุม ครั้งละ 500 ซีซี จํานวน ครั้ง การอนุบาลลูกหอยหวานแบงออกตามพัฒนาการเปน ระยะ ดังนี้ การอนุบาลลูกหอยหวานระยะแรก (veliger larvae) หลังจากลูกหอยฟกเปนตัว ใสแพลงกตอนพืชชนิด Chaetoceros sp หรือ Tetraselmis sp ใหกินทันทีวันละ เวลา (เชา-กลางวัน-เย็น) ครั้งละ 15 ลิตร/ ถัง (รูปที่ 2) ใหในกรณีแพลงกตอนพืชขาดหรือไมเพียงพอใหสาหรายผง (Spirulina sp.) ในปริมาณ 0.5 กรัม/ มื้อ/ ถัง มีการเปลี่ยนถายน้ํา 100 % ทุกวัน 240 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 O20 การอนุบาลลูกหอยหวานระยะที่สอง (settled juvenile หรือ early juvenile) เมื่อลูกหอยหวานเริ่มลงพื้นวันแรก ยายลูกหอยหวานจากถังอนุบาลมาใสกระชังผาตาถี่ (ผาไนลอน) มีฝาปดรูด ดวยซิป (โครงกระชังทําดวยแผนเฟรมขนาดกวาง x ยาว x สูง เทากับ 5x x แผน หรือเทากับ 41x 71 x 35 ซม เย็บติด เปนแผนเดียวกันหุมดวยผาชีฟอง) มีพื้นที่กนกระชังเทากับ 2,911 ตร.ซม หรือมีปริมาตรเทากับ 101,885 ลบ.ซม วางอยู บนแผนพลาสติกซึ่งมีลูกแล็ครองเหนือพื้นกนถังประมาณ ซม ลอยกระชัง ใบในถังพลาสติกขนาด 300 ลิตร ใสน้ําพอ ทวมกระชัง (รูปที่ 3) ใหอาหารจําพวกแพลงกตอนพืชและสาหรายผงรวมกับอารทีเมียตัวเต็มวัยแชแข็งวันละ เวลา (เชาบาย) เปลี่ยนถายน้ําวันละ ครั้ง ในตอนเชา (70-80 %) และในตอนบาย 100 % (ใหน้ําไหลผานหรือยายถัง) รูปที่ ลูกหอยหวานเพิ่งฟกเปนตัวระยะ veliger larvae ตองใสอาหารใหกินทันที (ในรูปเปนแพลงกตอนพืช สีเขียวชนิด Tetraselmis sp.) รูปที่ กระชังสําหรับอนุบาลลูกหอยหวานระยะลงพื้น ( settled juvenile ) ซึ่งวางอยูบนแผนพลาสติก มีลูกแล็ครองพื้นสูง ประมาณ ซม ใสในถังอนุบาลขนาดเสนผาศูนยกลาง 90 ซม สูง 45 ซม การอนุบาลลูกหอยหวานระยะที่สาม ( early juvenile จนถึงขนาด ซม.) หลังจากลูกหอยลงพื้นหมดจึงยายลูกหอยออกจากกระชังมาใสถังขนาด 300 ลิตร ที่มีทรายละเอียดปูพื้นถัง ประมาณ 70 % ของพื้นที่ทั้งหมดหนาประมาณ 0.5-1 ซม ใสน้ําประมาณ 20-25 ซม เทลูกหอยจากกระชังโดยวิธีราดน้ํา เบาๆ (รูปที่ 4) ลูกหอยจะไหลลงมากองอยูบนพื้นทราย (รูปที่ 5) ใหสาหรายผงและอารทีเมียตัวเต็มวัยเปนอาหารในระยะ วันแรก และอารทีเมียตัวเต็มวัยอยางเดียวหลัง วันขึ้นไป วันละ ครั้ง (เชา-บาย) ถายน้ําวันละ ครั้ง (เชา-บาย) โดย 241 O20 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 ในชวงบายเก็บเศษอาหารออกใหหมด ปดปากถังดวยผาพลาสติกใสซึ่งเจาะรูเล็ก ๆ เปนระยะ ๆ เพื่อระบายอากาศใชไม หนีบยึดติดกับขอบถังโดยรอบ (รูปที่ 6) หลังอนุบาลไปได 15 วัน จึงแบงลูกหอยในแตละถังออกเพื่อลดความหนาแนนทุก สัปดาห โดยใชสวิงอันเล็กๆ ชอนลูกหอยขึ้นมาทีละนอย ในปริมาณ 50 % ของจํานวนลูกหอยทั้งหมด พรอมกับเพิ่ม ปริมาณทรายใหเต็มพื้นที่กนถังและเพิ่มขนาดของเม็ดทรายเมื่อลูกหอยอายุครบ เดือน จึงใหปลาขางเหลืองสดควบคูไป กับการใหอารทีเมียตัวเต็มวัยและงดอารทีเมีย เมื่อลูกหอยหวานมีอายุครบ 40 วันหรือมีขนาดมากกวา 0.5 ซม ขึ้นไป การ แบงลูกหอยประเมินจากความหนาแนนของลูกหอยหวานในแตละถังใหอยู ที่จํานวน 4,000-5,000 ตัว/ถัง เมื่อลูกหอยหวาน มีอายุครบ 60 วัน หรือ2 เดือน รูปที่ การยายลูกหอยหวานออกจากกระชังไปอนุบาลตอในถังขนาด 300 ลิตร โดยวิธีตะแคงกระชัง แลวใชน้ําราดเบาๆ ใหลูกหอยลงไปถังซึ่งมีน้ําอยูประมาณ 20-25 ซม รูปที่ ลูกหอยหวานระยะ early juvenile ซึ่งเทออกจากกระชังจะลงมากองรวมกันอยูบนพื้นทรายหลังจากนั้นจะคอยๆ คืบ คลานฝงตัวลงในทรายและบางสวนจะไตตามผนังขางถัง 242 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 O20 รูปที่ ถังอนุบาลลูกหอยหวานระยะ juvenile ตองใชผาพลาสติกใสคลุมถังและมีไมหนีบยึดติดเปนระยะๆ ใสน้ําประมาณ 70 % เปดลมแรงเพื่อใหละอองน้ํากระจายไปทั่วถัง ปองกันการแหงตายของลูกหอยขณะปนขอบถังได การเตรียมอาหาร เพาะขยายแพลงกตอนพืช ไดแก Chaetoceros sp และ Tetraselmis sp ในถังขนาด 200 ลิตร โดยใสปุย 10 พี พีเอ็ม สําหรับสาหรายผง (Spirulina sp.) มีขายสําเร็จรูปเปนกระปองขนาดจุ 500 กรัม นําอารทีเมียตัวเต็มวัยที่ ซื้อมาจากฟารมในขณะมีชีวิต มาลางดวยน้ําหลายๆ ครั้งจนสะอาด ใสโพวิโดน– ไอโอดีน 25 พีพีเอ็ม คลุกใหทั่วกันตักใสถุงพลาสติกแชแข็งไวเพื่อใชตลอดการทดลอง กอนนํามาใชนํามาละลายแลวลาง ดวยน้ําอีกครั้ง นําปลาขางเหลืองสด ตัดหัว สวนทอง และสวนหางทิ้งไป แลเนื้อออกเปน ชิ้น รวมทั้งกระดูกกลางนําไป เลี้ยงลูกหอย โดยปลาขางเหลืองทั้งตัว กก จะเหลือสวนที่นํามาใช 0.6 กก การเก็บขอมูล - สุมนับจํานวนลูกหอยหวานเมื่ออายุ วัน ทุกถังรวม ถัง เพื่อคํานวณหาปริมาณลูกหอยเมื่อเริ่มการทดลอง - นับจํานวนลูกหอยหวานเมื่อมีอายุครบ 60, 70, 80 และ 90 วัน โดยแบงลูกหอยออกเปน กลุม กลุมแรกมีขนาด ตั้งแต ซม ขึ้นไป และกลุมที่ มีขนาดต่ํากวา ซม ลงมา สิ้นสุดการทดลองเมื่อลูกหอยมีอายุ 90 วัน - ตรวจสอบคุณภาพน้ําบางประการ โดยการเก็บน้ําที่ใชในระบบไปตรวจสัปดาหละ ครั้ง วัดคา pH ความเค็ม อุณหภูมิ แอมโมเนีย ไนไตรท และไนเตรท - หาตนทุนการผลิตลูกหอยหวานขนาด ซม โดยคิดจากตนทุนการผลิตฝกไขหอยหวาน (ราคา 3.7 สตางค / ฝก จากนิพนธ และจรัญ, 2543) คาอาหาร อุปกรณอื่นๆ คาแรงงาน คาไฟฟา รวมทั้งถังที่ใชในการเพาะฟกและอนุบาลขนาด 200 และ 300 ลิตร จํานวน 10 และ 20 ใบ ตามลําดับ ผลการทดลอง ชนิดของอาหารที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกหอยหวาน ระยะแรก (veliger larvae) กินแพลงกตอนพืชชนิด Tetraselmis sp ไดดีกวาชนิด Chaetoceros sp สวนสาหราย ผง (Spirulina sp.) ใหในกรณีที่ลูกหอยขาดสาหรายมีชีวิต พบวาลูกหอยสามารถพัฒนาถึงระยะลงพื้นไดในวันที่ และลง พื้นหมดในวันที่ 14 ระยะที่สอง (settled juvenile) ระยะที่มีลูกหอย ระยะ คือ veliger larvae และ settled juvenile ปนกันลูกหอย เปลี่ยนพฤติกรรมมาคืบคลานหาอาหารกินบนพื้นแทนหลังจากลงพื้นใหม ๆ แตอาหารที่กินตองมีขนาดเล็กเพราะทอดูด อาหารยังมีขนาดเล็กและไมแข็งแรงพอที่จะดูดของแข็งมากกินไดอาหารที่เหมาะสมคือใหสาหรายผงควบคูกับแพลงกตอน 243 O20 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 พืชหลังจากนั้น วัน ลูกหอยระยะ settled juvenile ทุกตัวจึงสามารถกินอารทีเมียตัวเต็มวัยเปนอาหารไดดี สําหรับเนื้อปลา ลูกหอยหวานที่มีขนาด 0.5 ซม ขึ้นไปเทานั้นจึงสามารถกินได โดยเริ่มใหกินเมื่อมีอายุ 30 วันขึ้นไปจนถึงขนาด ซม อัตรารอดตายของลูกหอยหวานตั้งแตฟกเปนตัวจนถึงขนาด ซม ปริมาณลูกหอยหวานอายุ วัน จากการสุมทั้ง ถัง เทากับ 129,700, 142,500, 157,250, 161,500, 181,200 และ 220,000 ตัว ตอปริมาตรน้ํา 180 ลิตร รวมจํานวนลูกหอยทั้งหมด 992,150 ตัว เมื่ออนุบาลลูกหอยหวานจนครบ 60 วัน พบวาลูกหอยหวานเหลือรอดจํานวน 97,676 ตัว โดยมีอยูในถังที่ ถึงถังที่ มีจํานวนเทากับ 12,914, 12,422, 13,507, 18,089, 19,233 และ 21,511 ตัวตามลําดับ อัตรารอดตายเทากับ 9.96, 8.72, 8.59, 11.20, 10.61 และ 9.69 เปอรเซ็นต ตามลําดับ อายุและการเจริญเติบโตของลูกหอยหวานตั้งแตฟกเปนตัวจนถึงขนาด ซม ลูกหอยหวานจากฝกไขจะฟกเปนตัวเปนระยะ veliger larvae ภายในเวลา วัน และสามารถกินแพลงกตอนพืช ไดทันที ลูกหอยมีการเจริญเติบโตโดยการเพิ่มขนาดทุกวัน หากลูกหอยไดกินอาหารอยางเพียงพอจะสามารถพัฒนาการลง สูพื้นเขาสูระยะ settled juvenile ไดในเวลา วัน และลงพื้นหมดในเวลา 14 วัน เมื่อมีอายุครบ 30 วัน (นับจากลูกหอยเริ่ม ลงพื้น) มีลูกหอยประมาณ 10 % เจริญเติบโตไดขนาด ซม หลังจากนั้นอีกประมาณ 23-24 วัน หรือมีอายุครบ 60 วัน ทํา การแยกลูกหอยมีขนาดตั้งแต ซม ขึ้นไปและต่ํากวา ซม ลงมา พรอมทั้งนับจํานวนลูกหอยในแตละถังเพื่อหาสัดสวน (%) การเจริญเติบโตของลูกหอยทั้งหมดและทําเชนนี้เมื่อลูกหอยหวานมีอายุ 70, 80 และ 90 วัน เปนครั้งสุดทาย (ตารางที่ 1) โดยเลี้ยงหอยเล็กใหมีจํานวนเฉลี่ยเทากับ 5,160, 4,822 และ 4,805 ตัว/ถัง โดยใชถังอนุบาลเทากับ 9, และ ถัง หลัง เลี้ยงครบ 90 วัน มีหอยเล็กเหลืออยู 2,905 ตัว หรือเทากับ 2.98 % ของปริมาณลูกหอยทั้งหมด ตารางที่ สัดสวนการเจริญเติบโตของลูกหอยหวานตั้งแตอายุ อายุ ความหนาแนนเฉลี่ย ขนาด>1 ซ.ม ซ้ําที่ (วัน) ตัว/ถัง/0.636 ตร.ม./ตร.ม (ตัว) (%) 60 4,305 / 6,769 8,678 67.20 60 4,141 / 6,511 8,167 65.75 60 4,502 / 7,079 7,555 55.93 60 6,030 / 9,481 7,889 43.61 60 6,411 / 10,080 7,633 39.69 60 5,378 / 8,456 11,311 52.58 60 รวม 5,141 / 8,083 51,233 52.45 70 5,160 / 8,113 27,155 58.47 80 4,822 / 7,582 14,483 75.09 90 4,805 / 7,555 1,900 20.81 60-90 วัน ขนาด ซ.ม ขึ้นไป จึงคัด ขนาดและแยกหอยเล็กไปอนุบาลตอใหมีความหนาแนน 4,000-5,000 ตัว /ถัง จากนั้นทุก 10 วัน จะมีการคัดขนาดเพื่อแยก หอยใหญออกพบวาในการทดลองครั้งสุดทายเมื่ออายุ 90 วัน มีลูกหอยขนาด ซ.ม ขึ้นไปจํานวน 94,771 ตัว หรือ 97.02% ของปริมาณลูกหอยที่มีอายุ 60 วัน ทั้งหมด 97,676 ตัว ตนทุนการผลิตลูกหอยหวานเชิงพาณิชย 5.1 ตนทุนผันแปรในการผลิตลูกหอยหวานขนาดความยาว ซ.ม ประกอบดวย 5.1.1 ตนทุนการผลิตฝกไข (คิดจาก นิพนธ และจรัญ, 2543) ราคาฝกละ 0.37 บาท รวม 2,000 ฝก เปนเงิน 74 บาท 5.1.2 แพลงกตอนพืช วันละ ครั้ง ๆ ละ 15 ลิตร/ถัง เปนเวลา 13 วัน รวม 3,510 ลิตร (1,000 บาท / 1,000 ลิตร) รวมเปนเงิน 3,510 บาท 5.1.3 อาหารเสริม (สาหรายผง 500 บาท/500 กรัม) ใช กรัม/ถัง/วันรวม วัน เทากับ 48 กรัม เปนเงิน 48 บาท 5.1.4 อารทีเมียตัวเต็มวัยแชแข็ง (100 บาท/กิโลกรัม) รวม 32.5 กิโลกรัม เปนเงิน 3,250 บาท 5.1.5 ปลาขางเหลือง (ตัดหัวและสวนทองราคา 20 บาท/กิโลกรัม) รวม 96 กิโลกรัม เปนเงิน 1,920 บาท 5.1.6 คาแรงงาน, (คนงาน คน อัตรา 4,100 บาท) รวม เดือน เปนเงิน 24,600 บาท คาตอบแทน เดือน ( 25 วัน ๆ ละ 120 บาท) เปนเงิน 6,000 บาท 5.1.7 คาไฟฟา (เครื่องสูบน้ําและปมลม) ประเมินเดือนละ 2,000 บาท รวม เดือน เปนเงิน 6,000 บาท 5.1.8 อุปกรณอื่นๆ เชน กระชัง กระชอน ตะกราพลาสติก ฯลฯ เปนเงิน 1,500 บาท 245 O20 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 รวมตนทุนผันแปรเทากับ 46,902 บาท ผลิตหอยหวานขนาด เซนติเมตร ได 94,771 ตัว คิดเปนคาใชจายตัวละ 49.49 สตางค 5.2 ตนทุนคงที่ ประกอบดวย 5.2.1 คาเสื่อมราคาโรงเพาะฟกขนาด 81 ตร.ม มูลคา 150,000 บาท อายุการใชงาน 10 ป คิดเฉพาะ เดือน เปนเงิน 3,750 บาท 5.2.2 คาเสื่อมราคาถังอนุบาล 20 ใบๆ ละ 900 บาท มูลคา 18,000 บาท อายุการใชงาน ป คิดเฉพาะ เดือน เปนเงิน 900 บาท 5.2.3 คาเสื่อมราคาถังเพาะแพลงกตอนพืชและอนุบาลลูกหอยระยะแรกขนาด 200 ลิตร จํานวน 10 ใบ ๆ ละ 850 บาท มูลคา 8,500 บาท อายุการใชงาน ป คิดเฉพาะ เดือน เปนเงิน 425 บาท 5.2.4 ปมน้ําขนาด นิ้ว จํานวน เครื่อง ๆ ละ 2,800 บาท มูลคา 5,600 บาท อายุการใชงาน ป คิดเฉพาะ เดือน เปนเงิน 1,400 บาท รวมตนทุนคงที่เทากับ 6,475 บาท ผลิตพันธุหอยหวานขนาด เซนติเมตร จํานวน 94,771 ตัว คิดตนทุนคงที่ในการผลิตพันธุหอยหวานตัวละ 6.83 สตางค รวมตนทุนผันแปรและคงที่ ในการผลิตพันธุหอยหวานขนาด เซนติเมตร เทากับ 56.32 สตางค (ตารางที่ 2) คุณสมบัติของน้ําที่สําคัญในระหวางการเพาะและอนุบาล เริ่มการทดลองเมื่อ 27 ม.ค – พ.ค 47 ตลอดการทดลองมีการตรวจหาคา อุณหภูมิ พีเอช อัลคาลินิตี้ ความเค็ม แอมโมเนีย ไนไตรท และไนเตรท สัปดาหละ ครั้ง ไดคาดังนี้ อุณหภูมิ ( °C) มีคาระหวาง 25-32 เฉลี่ย 29.5±2.1 พีเอช มีคาระหวาง 7.74-8.18 เฉลี่ย 8±0.13 ความเค็ม (สวนในพัน) มีคาระหวาง 31-34 เฉลี่ย 32.6±1 อัลคาลินิตี้ (มก./ล.) มีคาระหวาง 109.6-136.5 เฉลี่ย 117.1±6.6 แอมโมเนีย (มก./ล.) มีคาระหวาง 0.0180-0.1187 เฉลี่ย 0.0543±0.0256 ไนไตรท (มก./ล.) มีคาระหวาง 0.0009-0.0057 เฉลี่ย 0.0034±0.0016 ไนเตรท (มก./ล.) มีคาระหวาง 0.0046-0.0517 เฉลี่ย 0.0243±0.0126 246 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 O20 ตารางที่ ตนทุนการผลิตพันธุหอยหวานขนาด ซ.ม ในรอบ เดือน รายการ 1.) ตนทุนผันแปร 1.1 ตนทุนการผลิตฝกไข 1.2 ตนทุนการผลิตแพลงกตอนพืช 1.3 อาหารเสริม 1.4 อารทีเมียตัวโตแชแข็ง 1.5 ปลาขางเหลือง 1.6 คาแรงงาน+คาตอบแทน คน เดือน 1.7 คาไฟฟา 1.8 อุปกรณอื่นๆ รวมตนทุนผันแปร 2.) ตนทุนคงที่ 2.1 คาเสื่อมราคาโรงเพาะฟก 2.2 คาเสื่อมราคาถังอนุบาลและเพาะแพลงกตอนพืช 200 ลิตร 2.3 คาเสื่อมราคาถังอนุบาล 300 ลิตร 2.4 คาเสื่อมราคาปมน้ําขนาด นิ้ว เครื่อง รวมตนทุนคงที่ รวมคาใชจาย ตนทุนผันแปร+ตนทุนคงที่ ตนทุนการผลิตหอยหวานขนาด ซ.ม (94,771 ตัว) ตัวละ ตนทุนการผลิตหอยหวานขนาด ซ.ม (ไมคิดคาแรงงาน) ตัวละ จํานวนเงิน % 74 3,510 48 3,250 1,920 30,600 6,000 1,500 46,902 0.14 6.57 0.09 6.09 3.60 57.33 11.24 2.81 87.87 3,750 425 900 1,400 6,475 53,377 56.32 สตางค 24.03 สตางค 7.02 0.80 1.69 2.62 12.13 100 สรุปและวิจารณผล ชนิดของอาหารที่ใชเลี้ยงในระหวางการอนุบาล จากการทดลองพบวาลูกหอยหวานระยะ veliger larvae ชอบกิน Tetraselmis sp มากกวา Chaetoceros sp อาจ เปนเพราะ Tetraselmis sp เคลื่อนที่ได นอกจากนี้ยังพบวาสาหรายผง (Spirulina sp.) สามารถทดแทนแพลงกตอนพืชที่มี ชีวิตไดหากอาหารมีชีวิตมีไมพอและเปนอาหารที่เหมาะสมและดีที่สุดสําหรับลูกหอยระยะลงพื้น (settled juvenile) 1-7 วัน หลังจากนั้นลูกหอยหวานสามารถกินอารทีเมียตัวเต็มวัยไดดีจนมีขนาด 0.5 ซม หรือ 30 วันขึ้นไป หลังจากลูกหอยมีอายุ 40 วันสามารถกินปลาสดไดดี(ขนาด 0.5-1 ซ.ม.) อัตรารอดตายของลูกหอยหวานตั้งแตฟกเปนตัวจนถึงขนาด ซ.ม ลูกหอยหวานจํานวน ถัง มีปริมาณทั้งหมด 992,150 ตัว มีอัตรารอดตายเมื่อเลี้ยงครบ 60 วันจากถังที่ – ถัง เทากับ 9.96 , 8.72 , 8.59 , 11.20 , 10.61 และ 9.69% ตามลําดับ ไดลูกหอยทั้งหมด 97,676 ตัว หรือ มีอัตรารอดตายเฉลี่ย 9.82% เมื่อเทียบกับผลการทดลองของ Tanate and Nhongmeesub (1996) นิพนธและจรัญ (2543) และ นิลนาจและศิรุษา (2545) ที่รายงานการรอดตายของลูกหอยหวานเทากับ 0.84, 2.02 และ 0.19% ตามลําดับ จะเห็นไดวาอัตรารอดตายของลูก หอยหวานจากการทดลองครั้งนี้สูง และสูงสุดเฉลี่ยมากกวาการทดลองอื่นที่กลาวถึง อาจเปนเพราะชนิดของอาหารที่ใชใน การอนุบาลลูกหอยครั้งนี้เหมาะสมที่ใหในแตละระยะ 247 O20 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 อายุและการเจริญเติบโตของลูกหอยหวานตั้งแตฟกเปนตัวจนถึงขนาด ซ.ม ในการทดลองพบวาเมื่อลูกหอยหวานระยะ veliger larvae กินแพลงกตอนพืชชนิด Tetraselmis sp หรือ Chaetoceros sp หรือสาหรายผง (Spirulina sp.) จนอิ่มทุกวันสามารถพัฒนาลงสูพื้นไดในวันที่ และลงพื้นหมดเมื่ออายุ 14 วัน ตางจากนิพนธและจรัญ (2543)นิลนาจและศิรุษา (2545) ธานินทร (2539) ซึ่งใช Chaetoceros sp อยางเดียวและ พบวาลูกหอยหวาน มีระยะลงพื้นอยูที่ 17-30 วัน 12-18 วัน 10-24 วัน ตามลําดับ หลังจากลูกหอยลงพื้นแลวนํามาอนุบาลตอในถังขนาด 0.636 ตร.ม (300 ลิตร) วันแรกใสเพียง ถัง หลังจากนั้น ทุก สัปดาหจะกระจายลูกหอยไปใสถังใหมเมื่อพบวาลูกหอยในถังเดิมหนาแนนเกินไป (มีขนาดเพิ่มขึ้น) เนื่องจากไมมี การนับลูกหอยระยะลงพื้นนอกจากประเมินดวยสายตาวาหนาแนนมากเกินเทานั้นและเมื่อเลี้ยงครบ 90 วัน พบวาลูกหอย สามารถเจริญเติบโตจนถึงขนาด ซ.ม ไดถึง 94,771 ตัว (97.02%) ที่ความหนาแนน 4,805-5,160 ตัว หรือ 7,555- 8,113 ตัว/ตร.ม การเจริญเติบโตจนถึงขนาด ซ.ม ของลูกหอยหวานอาจจะชากวาปกติ เนื่องจากการเลี้ยงที่หนาแนนมากเกินไป หากลดอัตราปลอยที่ความหนาแนนไมเกิน 4,000 ตัว/ตร.ม นาจะทําใหลูกหอยหวานมีการเจริญเติบโตเร็วกวานี้ ซึ่งนิพนธ และจรัญ (2543) อนุบาลลูกหอยหวานระยะลงพื้น (17-30 วัน) ตอเปนเวลา 32 วัน ที่อัตราปลอย 1,000 , 1,500 และ 2,000 ตัว/ตร.ม เปนลูกหอยขนาด ซ.ม ทั้งหมด แตที่อัตราปลอย 3,000 ตัว/ตร.ม ไดลูกหอยที่มีขนาด 0.83-0.93 ซ.ม แสดงวา ความหนาแนนเปนปจจัยรองลงมาจากชนิดของอาหารในการเจริญเติบโตของลูกหอยหวานระยะนี้ (0.3-1.0 ซ.ม.) พัฒนาเทคนิคการจัดการเพื่อใหลูกหอยมีอัตรารอดสูงสุด 4.1 การฆาเชื้อฝกไขและการใชระบบน้ําฆาเชื้อที่ใชในการฟกไขและอนุบาล 4.2 การเปลี่ยนน้ํา 100 เปอรเซ็นต ทําใหน้ําในถังสะอาดและมีคุณภาพดีสามารถใหแพลงกตอนพืชไดในปริมาณ ที่ตองการ 4.3 การอนุบาลลูกหอยระยะ settled juvenile ดวยกระชังผาตาถี่ เพื่อสะดวกในการใหอาหาร การเปลี่ยนถายน้ํา ลดการเนาเสียของพื้นภาชนะซึ่งจะมีผลตอลูกหอยระยะลงพื้น 4.4 การเลือกใชถังอนุบาลที่เหมาะสม ระยะ veliger larvae ใชถังขนาด 200 ลิตร เมื่อลงพื้นยายลงกระชังผาตาถี่ หลังจากลงพื้นหมดยายลงถังขนาด 300 ลิตร พื้นปูทรายละเอียดจนครบ 30 วัน เปลี่ยนมาใชทรายหยาบแทน ใชผาพลาสติก คลมุปากถังเพื่อใหขอบถังชื้นตลอดเวลาและปองกันการปนหนีของลูกหอย โดยวิธีดังกลาวทําใหลุกหอยมีอัตรารอดสูงสุด ถึง 11.26 % เฉลี่ย 9.82% จากระยะ veliger จนถึงขนาด ซม ในเวลา 90 วัน 4.5 การใหอาหารและการเปลี่ยนถายน้ํา การใหอาหารอยางเพียงพอชวยใหลูกหอยมีการเจริญเติบโตดีเมื่อกินอิ่ม แตมีปญหาเรื่องของเสียและเศษอาหารที่เหลือซึ่งตองกําจัดออกโดยการเปลี่ยนถายน้ําวันละ ครั้ง ๆ ละ 100% (เชา-บาย) เก็บเศษอาหารเหลือออกและลางพื้นทรายทุกวัน หากทําอยางดีลูกหอยจะไมมีการตายเลยหลังจาก เดือนไปแลว 4.6 การคัดขนาด เปนสิ่งจําเปนเพราะลูกหอยขนาดใหญจะเขาไปครอบครองพื้นที่ที่วางอาหารกินจนหมดทําให ลูกหอยขนาดเล็กไมสามารถเขาไปแยงกินไดหรือกินไดนอย ปญหาคือทําใหลูกหอยขนาดเล็กมีการเจริญเติบโตชากวาปกติ ตนทุนการผลิตลูกหอยหวานเชิงพาณิชย ตนทุนการผลิตลูกหอยหวานขนาด ซ.ม มีตนทุนรวม (คงที่+ผันแปร) เทากับ 56.32 สตางค โดยเสียคาใชจาย ทั้งหมด 53,377บาท ไดลูกหอยหวานขนาด ซม จํานวน 94,771 ตัว หากไมคิดคาแรงงาน (ตัวละ 32.29 สตางค) จะเหลือ ตนทุนการผลิตตัวละ 24.03 สตางค ของคาใชจายทั้งหมด สําหรับคาไฟฟาประเมินไวเดือนละ 2,000 บาท รวม เดือน 6,000 บาท หรือ 11.24% ของตนทุนการผลิต จากรายงานของนิลนาจและศิรุษา (2545) ใชระบบฉีดน้ําขางถัง ทําให คาใชจายในสวนนี้ (สูบน้ําและอากาศ) สูงถึง 31.0% 248 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 O20 จากขอมูลดังกลาวหากเกษตรกรนํารูปแบบการผลิตพันธุหอยหวานเชิงพาณิชยจากการทดลองนี้ไปใช จะ ประหยัดในสวนของคาแรงงาน เหลือคาใชจายสวนอื่น 42.67% หรือมีตนทุนการผลิตลูกพันธุหอย ตัวละ 24.03 สตางค เทานั้น ซึ่งสามารถขายไดในราคาตัวละ 50-60 สตางค จะไดผลตอบแทน (กําไร) อยูในเกณฑคอนขางสูง คือ 108.07149.69% เอกสารอางอิง ธานินทร สิงหะไกรวรรณ 2539 การศึกษาชีววิทยาบางประการของหอยหวานในบอเลี้ยงเพื่อการผลิตพันธุสําหรับปลอย ลงแหลงน้ําธรรมชาติ เอกสารวิชาการฉบับที่ 57, ศูนยพัฒนาการประมงทะเลอาวไทยฝงตะวันออก, กอง ประมงทะเล, กรมประมง, 42 หนา นิพนธ ศิริพันธ และ จรัญ วงษวิวัฒนาวุฒิ 2543 การเพาะฟกหอยหวาน(Babylonia areolata Link , 1807.) สถานี เพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงรวมกับสํานักวิชาการ, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและ สหกรณ, 46 หนา นิลนาจ ชัยธนาวิสุทธิ์ และ ศิรุษา กฤษณะพันธุ 2545 คูมือการเลี้ยงหอยหวานและแนวปฏิบัติ หนังสือในโครงการ จัดพิมพเผยแพรรายงานการวิจัย, ลําดับที่ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 114 หนา รัตนา มั่นประสิทธิ์ และ ประวิม วุฒิสินธุ 2531 การศึกษาเบื้องตนในการเพาะเลี้ยงหอยหวาน(Babylonia areolata) เอกสารวิชาการฉบับที่ ศูนยพัฒนาประมงทะเลอาวไทยฝงตะวันออก, กองประมงทะเล, กรมประมง 14 หนา APHA, AWWA and WPCF 1980 Standard Method for the Examination Water and Wastewater 15th ed American Public Health Publisher Inc., New York 1,134 pp Poomtong, T and J Nhongmeesub.1996.Spawning, Larval and juvenile Rearing of Babylon Snail (Babylonia areolata , L ) under Laboratory conditions Phuket Marine Biological Center Special Publication no 16 (1996) : 137-142 249 ...การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 O20 COMMERCIAL PRODUCTION OF SPOTTED BABYLON (Babylonia areolata Link, 1807) SEEDS Bung-orn Srimukda Surachart Chaweepack... Key words : Spotted babylon, Nursing, Commercial Production 238 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 O20 คํานํา หอยหวานหรือหอยตุกแกหรือ Spotted Babylon (Babylonia areolata Link, 1807) ปจจุบันเปนที่ยอมรับและนิยม... number of 94,771 juveniles (≥ cm in shell length) were investigated at 97.02% of 97,676 juveniles The total yield (fix and variable cost) of 94,771 larvae was 56.32 stangs Key words : Spotted babylon,

Ngày đăng: 27/09/2019, 11:54

Mục lục

  • รูปที่ 1 ถังฟักไข่หอยหวานขนาด 200 ลิตร ใส่ตะกร้าฝักไข่หอยหวานได้ 2 ตะกร้า

      • ผลการทดลอง

    • สรุปและวิจารณ์ผล

    • 1. ชนิดของอาหารที่ใช้เลี้ยงในระหว่างการอนุบาล

Tài liệu cùng người dùng

  • Đang cập nhật ...

Tài liệu liên quan